สมบัติเลขยกกำลัง
เมื่อ a,b เป็นจำนวนจริงบวก และ m,n เป็นจำนวนจริง
- a0=1 เมื่อ a≠0 และ a1=a
- am×an=am+n
- aman=am–n เมื่อ a≠0
- (am)n=amn
- (ab)m=am×bn
- (ab)m=ambm เมื่อ b≠0
- a−n=1an เมื่อ a≠0
- a1n=n√a
- amn=n√am=(n√a)m เมื่อ mn เป็นเศษส่วนอย่างต่ำ
นิยาม สำหรับจำนวนเต็มบวก n ที่มากกว่า 1 เราจะกำหนดได้ว่า กรณฑ์ที่ n ของ x ซึ่งเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ n√x ซึ่งมีค่าเท่ากับ x1n
สมบัติกรณฑ์
กำหนดให้ m,n เป็นจำนวนเต็มบวกใดๆที่มากกว่า 1
- n√x⋅n√y=n√xy
- n√xn√y=n√xy เมื่อ y≠0
- (n√x)n=x
- n√xn={x,เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มบวกคี่|x|,เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มบวกคู่
- amn=n√am=(n√a)m เมื่อ mn เป็นเศษส่วนอย่างต่ำ
- n√m√x=nm√x เมื่อ b≠0
ตัวอย่างที่ 1 การจัดรูปพื้นฐานที่ควรรู้
- √5⋅√3=√15 แต่ √5+√3≠√8
- √7⋅√7=7 แต่ 3√7⋅3√7≠7 ที่ถูกต้องคือ 3√7⋅3√7⋅3√7=7 (รากที่ 3 ต้องคูณกัน 3 ครั้ง รากจึงจะหาย)
- 823=(813)2=(3√8)2=22=4
- 4√(x+1)2=(x+1)24=(x+1)12=√x+1
แบบฝึกหัดที่ 1 จงจัดให้อยู่ในรูปอย่างง่าย
- √32
- √72
- 3√72
- 3√432